ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ธันวาคม 23, 2024, 03:40:50 am

 


  หน้าแรก  • ช่วยเหลือ  • ค้นหา  • เข้าสู่ระบบ  • สมัครสมาชิก



สถานีวิทยุออนไลน์
สายสัมพันธ์





ท่านสามารถขอเพลงฟังได้
ที่กล่องขอเพลงด้านซ้ายมือ
แต่อาจไม่ได้รับฟังทุกเพลง
เนื่องจากจะรองรับเพลงตามขอ
ของสมาชิกภายในก่อน
หน้า: [1]
 
ผู้เขียน หัวข้อ: จังหวะฉิ่งของเพลงไทยเดิม  (อ่าน 13253 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
woraphon
Moderator
*

คำขอบคุณ: 3715
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115
สมาชิก ID: 1760


Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 27 : Exp 12%
HP: 0.2%


« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 16, 2012, 06:05:37 pm »

 

๑. จังหวะเป็นองค์ประกอบอันดับแรกสุดของดนตรีหรือเพลง (ไม่ว่าจะเป็นดนตรีของชาติภาษาไหนก็ตาม) จังหวะเป็นเครื่องกำหนดความช้า-เร็วของเพลง โดยปกติจังหวะจะมี ๓ อัตรา คือ ช้า ปานกลาง และเร็ว

 
สมาชิกใหม่ทุกท่าน >>> กดที่นี่

ท่านเป็นเช่นนี้หรือไม่ ?
1 login ... เข้าเวป
2 หาเพลงโหลด
3 มีให้โหลด ตอบเพื่อโหลด ไม่มีให้โหลด ไปข้อ4
4 logout ... ไปดีกว่า
อา-ราย-หว่า ???

บันทึกการเข้า

สวัสดีครับ ขอบคุณที่กรุณาอ่าน แสดงความคิดเห็น และตอบกระทู้ครับ
woraphon
Moderator
*

คำขอบคุณ: 3715
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115
สมาชิก ID: 1760


Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 27 : Exp 12%
HP: 0.2%


« ตอบ #1 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 16, 2012, 06:07:31 pm »

 

๒. ดนตรีไทยหรือเพลงไทยเดิมมีอัตราจังหวะมาตรฐาน ๓ อัตรา คือ อัตราจังหวะช้า อัตราจังหวะปานกลาง และอัตราจังหวะเร็ว เราเรียกเพลงที่มีจังหวะช้าว่า “เพลง ๓ ชั้น” เช่น เพลงเขมรไทรโยค ๓ ชั้น เรียกเพลงที่มีจังหวะปานกลางเรียกว่า “เพลง ๒ ชั้น” เช่น เพลงลาวดวงเดือน ๒ ชั้น ส่วนเพลงที่มีจังหวะเร็วเรียกว่า “เพลงชั้นเดียว” เช่นเพลงคางคกปากสระชั้นเดียว

 
สมาชิกใหม่ทุกท่าน >>> กดที่นี่

ท่านเป็นเช่นนี้หรือไม่ ?
1 login ... เข้าเวป
2 หาเพลงโหลด
3 มีให้โหลด ตอบเพื่อโหลด ไม่มีให้โหลด ไปข้อ4
4 logout ... ไปดีกว่า
อา-ราย-หว่า ???

บันทึกการเข้า

สวัสดีครับ ขอบคุณที่กรุณาอ่าน แสดงความคิดเห็น และตอบกระทู้ครับ
woraphon
Moderator
*

คำขอบคุณ: 3715
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115
สมาชิก ID: 1760


Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 27 : Exp 12%
HP: 0.2%


« ตอบ #2 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 16, 2012, 06:09:05 pm »

 

๓. ในวงดนตรีสากลประเภทวงออร์เคสตร้าหรือวงประสานเสียง ผู้ทำหน้าที่กำกับจังหวะคือวาทยกร (Conductor) ควบคุมวงโดยการใช้รหัสหรือสัญญาณมือ มักถือไม้บาตอง (Baton) ที่มือขวาสำหรับให้จังหวะว่าให้เล่นช้าเร็วเพียงใด ส่วนมือซ้ายจะควบคุมในด้านอื่น เช่น ให้นักดนตรีเล่นเสียงดังหรือค่อย วงประเภทอื่นที่ไม่มีวาทยกร ขึ้นอยู่กับเพลงที่กำหนดจังหวะช้าเร็วไว้พร้อมกับการแต่งเพลงและการเรียบเรียงเสียงประสาน โดยมีเครื่องดนตรีที่ใช้กำกับจังหวะ เช่น กลองชุด กลองทอมบา (Tomba) เป็นต้น

 
สมาชิกใหม่ทุกท่าน >>> กดที่นี่

ท่านเป็นเช่นนี้หรือไม่ ?
1 login ... เข้าเวป
2 หาเพลงโหลด
3 มีให้โหลด ตอบเพื่อโหลด ไม่มีให้โหลด ไปข้อ4
4 logout ... ไปดีกว่า
อา-ราย-หว่า ???

บันทึกการเข้า

สวัสดีครับ ขอบคุณที่กรุณาอ่าน แสดงความคิดเห็น และตอบกระทู้ครับ
woraphon
Moderator
*

คำขอบคุณ: 3715
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115
สมาชิก ID: 1760


Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 27 : Exp 12%
HP: 0.2%


« ตอบ #3 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 16, 2012, 06:10:20 pm »

 

๔. สำหรับดนตรีไทยเดิม ไม่มีวาทยกร (Conductor) มีแต่เครื่องดนตรีที่ใช้กำกับจังหวะ คือ ฉิ่งกับเครื่องหนังเป็นเครื่องกำกับจังหวะหลัก โดยมีฉาบ กรับ ฆ้องโหม่ง เป็นเครื่องช่วยเสริมจังหวะ

 
สมาชิกใหม่ทุกท่าน >>> กดที่นี่

ท่านเป็นเช่นนี้หรือไม่ ?
1 login ... เข้าเวป
2 หาเพลงโหลด
3 มีให้โหลด ตอบเพื่อโหลด ไม่มีให้โหลด ไปข้อ4
4 logout ... ไปดีกว่า
อา-ราย-หว่า ???

บันทึกการเข้า

สวัสดีครับ ขอบคุณที่กรุณาอ่าน แสดงความคิดเห็น และตอบกระทู้ครับ
woraphon
Moderator
*

คำขอบคุณ: 3715
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115
สมาชิก ID: 1760


Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 27 : Exp 12%
HP: 0.2%


« ตอบ #4 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 16, 2012, 06:12:35 pm »

 

๕. ฉิ่งเป็นเครื่องดนตรีสำหรับกำกับจังหวะหลักในวงดนตรีไทยเดิม เคยมีคนเปรียบเทียบว่าฉิ่งเป็นเสมือนวาทยกร (Conductor) ของดนตรีไทย แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่ค่อยถูกต้องนัก เพราะฉิ่งไม่มีอิทธิพลมากนักต่อการบรรเลงและขับร้องเพลงไทยเดิม (วงดนตรีไทยเดิมบางวงไม่มีฉิ่ง ลองฟังเพลงของสุจิตต์ วงษ์เทศ http://www.sujitwongthes.com/category/music/page/2/ ) จึงไม่เหมือนกับวาทยกรที่มีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อการบรรเลงและขับร้องของวงออร์เคสตร้าหรือวงประสานเสียง ที่ว่าไม่ค่อยมีอิทธิพลนักก็เพราะในข้อเท็จจริงฉิ่งแปรผันตามเครื่องทำทำนอง หากเครื่องทำทำนองยิ่งเล่นยิ่งมันเดินทำนองเร็ว ฉิ่งก็ต้องตามตีเร็วให้ทันกัน แต่หากเครื่องทำทำนองเล่นช้า ฉิ่งก็พลอยช้าลงไปด้วย ไม่ค่อยมีโอกาสนักที่ฉิ่งจะบังคับจังหวะให้เครื่องทำทำนองช้าหรือเร็วได้ตามจังหวะฉิ่ง

 
สมาชิกใหม่ทุกท่าน >>> กดที่นี่

ท่านเป็นเช่นนี้หรือไม่ ?
1 login ... เข้าเวป
2 หาเพลงโหลด
3 มีให้โหลด ตอบเพื่อโหลด ไม่มีให้โหลด ไปข้อ4
4 logout ... ไปดีกว่า
อา-ราย-หว่า ???

บันทึกการเข้า

สวัสดีครับ ขอบคุณที่กรุณาอ่าน แสดงความคิดเห็น และตอบกระทู้ครับ
woraphon
Moderator
*

คำขอบคุณ: 3715
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115
สมาชิก ID: 1760


Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 27 : Exp 12%
HP: 0.2%


« ตอบ #5 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 16, 2012, 06:39:04 pm »

 

๖. จังหวะฉิ่งของดนตรีไทย อธิบายเพื่อความเข้าใจง่าย ๆ ได้ดังนี้

๖.๑ ฉิ่ง ๓ ชั้น ใช้ตีในการบรรเลงและขับร้องเพลง ๓ ชั้น สมมุติในห้องเพลงหนึ่งบรรจุเสียงได้ ๔ เสียง (หรือ ๔ ตัวโน้ต) ฉิ่ง ๓ ชั้นจะตีตรงกับเสียงที่ ๔ ของห้องที่ ๒ ห้องที่ ๔ ห้องที่ ๖ และห้องที่ ๘ โดยตี “ฉิ่ง” และ “ฉับ” สลับกันไป

หากกำหนดการนับอย่างง่าย ๆ ของจังหวะฉิ่งสามชั้น คือนับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ฉิ่งจะตีตรงจังหวะที่ ๘ เสมอ

ทดลองฟังวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์บรรเลงเพลงเขมรไทรโยค เพื่อจับจังหวะฉิ่ง ๓ ชั้น http://www.youtube.com/watch?v=y-rb-ZjJ9LQ&feature=related

 
สมาชิกใหม่ทุกท่าน >>> กดที่นี่

ท่านเป็นเช่นนี้หรือไม่ ?
1 login ... เข้าเวป
2 หาเพลงโหลด
3 มีให้โหลด ตอบเพื่อโหลด ไม่มีให้โหลด ไปข้อ4
4 logout ... ไปดีกว่า
อา-ราย-หว่า ???

บันทึกการเข้า

สวัสดีครับ ขอบคุณที่กรุณาอ่าน แสดงความคิดเห็น และตอบกระทู้ครับ
woraphon
Moderator
*

คำขอบคุณ: 3715
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115
สมาชิก ID: 1760


Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 27 : Exp 12%
HP: 0.2%


« ตอบ #6 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 16, 2012, 09:21:32 pm »

 

๖.๒ ฉิ่ง ๒ ชั้น ใช้ตีในการบรรเลงและขับร้องเพลง ๒ ชั้น สมมุติในห้องเพลงหนึ่งบรรจุเสียงได้ ๔ เสียง (หรือ ๔ ตัวโน้ต) ฉิ่ง ๒ ชั้นจะตีตรงกับเสียงที่ ๔ ของทุกห้อง โดยตี “ฉิ่ง” และ “ฉับ” สลับกันไป

หากจะนับจังหวะเพื่อกำหนดเสียงฉิ่ง ๒ ชั้น ให้นับ ๑ ๒ ๓ ๔ เสียงฉิ่งจะลงพร้อมกับการนับ ๔

ทดลองฟังอังกะลุงบรรเลงเพลงลาวดวงเดือน เพื่อจับจังหวะฉิ่ง ๒ ชั้น http://www.youtube.com/watch?v=TQSpCBA0mxQ&feature=related

 
สมาชิกใหม่ทุกท่าน >>> กดที่นี่

ท่านเป็นเช่นนี้หรือไม่ ?
1 login ... เข้าเวป
2 หาเพลงโหลด
3 มีให้โหลด ตอบเพื่อโหลด ไม่มีให้โหลด ไปข้อ4
4 logout ... ไปดีกว่า
อา-ราย-หว่า ???

บันทึกการเข้า

สวัสดีครับ ขอบคุณที่กรุณาอ่าน แสดงความคิดเห็น และตอบกระทู้ครับ
woraphon
Moderator
*

คำขอบคุณ: 3715
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115
สมาชิก ID: 1760


Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 27 : Exp 12%
HP: 0.2%


« ตอบ #7 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 16, 2012, 09:25:04 pm »

 

๖.๓ ฉิ่งชั้นเดียว ใช้ตีในการบรรเลงและขับร้องเพลงชั้นเดียว สมมุติในห้องเพลงหนึ่งบรรจุเสียงได้ ๔ เสียง (หรือ ๔ ตัวโน้ต) ฉิ่งชั้นเดียวจะตีตรงกับเสียงที่ ๒ และ ๔ ของทุกห้อง โดยตี “ฉิ่ง” และ “ฉับ” สลับกันไป

หากจะนับจังหวะเพื่อกำหนดเสียงฉิ่งชั้นเดียว จะนับ ๑ ๒ เสียงฉิ่งจะลงพร้อมกับการนับ ๒ เท่านั้น

ทดลองฟังเพลงทวายชั้นเดียว เพื่อจับจังหวะฉิ่งชั้นเดียว http://www.youtube.com/watch?v=jwloapzbLeQ

 
สมาชิกใหม่ทุกท่าน >>> กดที่นี่

ท่านเป็นเช่นนี้หรือไม่ ?
1 login ... เข้าเวป
2 หาเพลงโหลด
3 มีให้โหลด ตอบเพื่อโหลด ไม่มีให้โหลด ไปข้อ4
4 logout ... ไปดีกว่า
อา-ราย-หว่า ???

บันทึกการเข้า

สวัสดีครับ ขอบคุณที่กรุณาอ่าน แสดงความคิดเห็น และตอบกระทู้ครับ
woraphon
Moderator
*

คำขอบคุณ: 3715
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115
สมาชิก ID: 1760


Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 27 : Exp 12%
HP: 0.2%


« ตอบ #8 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 16, 2012, 09:28:05 pm »

 

๗. สำหรับเพลงไทยเดิมที่นำเอาเพลงทำนองเดียวกันที่มีอัตราจังหวะช้า ปานกลาง เร็ว มาเล่นต่อเนื่องกัน เรียกว่าเพลงเถา

ทดลองฟังเพลงแขกต่อยหม้อ (เถา) ซึ่งเป็นเพลงเถาที่สั้นและมีทำนองที่ไพเราะน่าฟัง เป็นผลงานการแต่งของครูมนตรี ตราโมท (พ.ศ. ๒๔๔๓-๒๕๓๘ ราชบัณฑิตในประเภทวิจิตรศิลป์ สำนักศิลปกรรม พ.ศ. ๒๕๒๔ ศิลปินแห่งชาติ สาขาดนตรีไทย พ.ศ. ๒๕๒๘)

สำหรับเพลงแขกต่อยหม้ออัตรา ๓ ชั้น นำมาดัดแปลงเป็นทำนองของเพลงไทยสากลดัง ๆ หลายเพลง เช่น เพลงวอนเฉลยของวงสุนทราภรณ์ เพลงรักจันทร์ของเพ็ญศรี พุ่มชูศรี เป็นต้น

เพลงแขกต่อยหม้อ (เถา) จะบรรเลงจากอัตราจังหวะ ๓ ชั้น ๒ ชั้น ชั้นเดียว และบรรเลงลงลูกหมดตามลำดับ โปรดสังเกตจังหวะฉิ่งมาตรฐานของดนตรีไทยเดิม จากอัตรา ๓ ชั้น ๒ ชั้น ชั้นเดียว และฉิ่งของลูกหมด

http://www.4shared.com/mp3/tFyExdOX/__online.htm

 
สมาชิกใหม่ทุกท่าน >>> กดที่นี่

ท่านเป็นเช่นนี้หรือไม่ ?
1 login ... เข้าเวป
2 หาเพลงโหลด
3 มีให้โหลด ตอบเพื่อโหลด ไม่มีให้โหลด ไปข้อ4
4 logout ... ไปดีกว่า
อา-ราย-หว่า ???

บันทึกการเข้า

สวัสดีครับ ขอบคุณที่กรุณาอ่าน แสดงความคิดเห็น และตอบกระทู้ครับ
woraphon
Moderator
*

คำขอบคุณ: 3715
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115
สมาชิก ID: 1760


Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 27 : Exp 12%
HP: 0.2%


« ตอบ #9 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 16, 2012, 09:29:32 pm »

 

๘. ความวิจิตรพิสดารของฉิ่งเพลงไทยเดิมยังมีอีกมาก เช่น เพลงไทยเดิมบางเพลงตีฉิ่งเฉพาะเสียง “ฉิ่ง” ทั้งเพลง บางเพลงตีเฉพาะเสียง “ฉับ” ทั้งเพลง เพลงสำเนียงจีนบางเพลงตี “ฉิ่ง ฉิ่ง ฉับ” ความลึกซึ้งของดนตรีอันเป็นเอกลักษณ์ไทยมีมาก เสียดายที่คนไทยไม่ค่อยมีโอกาสได้รู้ได้ศึกษากัน

 
สมาชิกใหม่ทุกท่าน >>> กดที่นี่

ท่านเป็นเช่นนี้หรือไม่ ?
1 login ... เข้าเวป
2 หาเพลงโหลด
3 มีให้โหลด ตอบเพื่อโหลด ไม่มีให้โหลด ไปข้อ4
4 logout ... ไปดีกว่า
อา-ราย-หว่า ???

บันทึกการเข้า

สวัสดีครับ ขอบคุณที่กรุณาอ่าน แสดงความคิดเห็น และตอบกระทู้ครับ
tanay2507
ปลดออกจากสมาชิก


คำขอบคุณ: 5543
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1931
สมาชิก ID: 27


Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 35 : Exp 73%
HP: 0%


เว็บไซต์
« ตอบ #10 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 17, 2012, 03:03:12 pm »

ม็อต คนล่าสุดไฟแรงจริงๆ ได้คนรู้จริงมาแชร์ความรู้เพลงไทยเดิม

ผู้รู้งูงๆ ปลาๆ อย่างผมขอฉากก่อนละครับ ^__^

ยินดีกับมอตฯ คนใหม่ด้วยนะครับ
สมาชิกใหม่ทุกท่าน >>> กดที่นี่

ท่านเป็นเช่นนี้หรือไม่ ?
1 login ... เข้าเวป
2 หาเพลงโหลด
3 มีให้โหลด ตอบเพื่อโหลด ไม่มีให้โหลด ไปข้อ4
4 logout ... ไปดีกว่า
อา-ราย-หว่า ???

บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
 
 
กระโดดไป:  






Saisampan.net
สายสัมพันธ์ - เพลงลูกทุ่งเก่า (เก่ากว่าที่ท่านคิด)
Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!